วันพฤหัสบดีที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2555




ค่า PR และค่า Index ของเว็บที่มีค่าต่ำและสูงแตกต่างกัน


เว็บไซต์ที่มีค่า Pr ต่ำสุด เท่ากับ 3
และค่า Index เท่่ากับ 46,700

เสื้อผ้าแฟชั่น  รองเท้าแฟชั่น ชุดเดรส แฟชั่นอินเทรนด์




เว็บไซต์ที่มีค่า Pr ต่ำสุด เท่ากับ 5
และค่า Index เท่่ากับ 19,100,000


ร้านค้าซื้อของออนไลน์  ขายของออนไลน์  เครื่องสำอาง  เครื่องประดับ






วันอาทิตย์ที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2555

ตัวอย่างของการทำ E-Business ในภาคเอกชนและการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางธุรกิจในรูปแบบของ E-Business


ตัวอย่างของการทำ E-business ในภาคเอกชน

ชื่อธุรกิจ :  ร้านค้าออนไลน์ สายตรงจาก Amazon

web page



URL:    http://astore.amazon.com/discacc-20

อธิบายตัวแบบธุรกิจ :


ร้านหนังสือที่ใหญ่ที่สุดในโลก

Amazon.com  คือร้านหนังสือออนไลน์ที่ใหญ่ที่สุดในโลก  และเป็นผู้นำตลาดหนังสือออนไลน์  มียอดขายที่สูงที่สุดในโลก  ให้บริการลูกค้า 17 ล้านคนใน 150 ประเทศ  มีสินค้าหลายหมวด เช่น หนังสือ เพลง วีดีโอ ของเด็กเล่น เครื่องใช้ไฟฟ้า  วีดีโอเกมส์  และสินค้าตกแต่งบ้าน   การคลิกเข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์สามารถเลือกชมได้ทั้งในอเมริกา  หรือประเทศอื่น ๆ เช่น ญี่ปุ่น เยอรมัน สเปน  และฝรั่งเศส

Amazon.com  เริ่มดำเนินธุรกิจตั้งแต่เดือน กรกฎาคม ปี 1995  (2538)  มียอดขายในปี 1996 เป็นเงิน 15.7 ล้านเหรียญสหรัฐ   และขยายเพิ่มเป็น 600 ล้านเหรียญในปี 1998  (2540)  และปี 2000  ยอดขายทะลุถึง 1.8 พันล้านบาท Amazon.com มีสินค้าในรูปแบบแคตตาล๊อกอิเล็กทรอนิกส์มากว่า 5 ล้านรายการ  ในปี 1999 และปี 2000  มีสินค้านำเสนอมากกว่า 13 ล้านรายการไม่ว่าจะเป็น หนังสือ เพลง และวีดีโอ   และยังมีการขยายตัวเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ  พร้อมกับการพัฒนาร้าน  การบริการ ด้วยเทคนิคระดับมืออาชีพ  เพื่อบริการให้ลูกค้า


การประมูล
Amazon.com ให้บริการประมูลด้วยบริการ   Amazon Auction และ zShop  ผ่านเว็บไซต์  ให้บริการกับบุคคลทั่วไป และธุรกิจขนาดย่อม โดยมีรูปแบบการประมูลที่แตกต่างจาก Ebay's รวมทั้งส่วนของ zShop  ก็ให้บริการเต็มรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นการชำระเงิน เริ่มตั้งแต่ส่วนหน้าร้าน (storefornt) ไปจนถึงระบบหลังร้าน (Back-end)

ลักษณะ

ปัจจัยของ Amazon.com ที่ทำให้ประสบความสำเร็จ คือ การท่องเว็บ และการค้นหาที่ง่าย  มีข้อมูลสินค้าที่เป็นประโยชน์ต่อการตัดสินใจ    มีข้อความแสดงความคิดเห็นของลูกค้า  แสดงคำแนะนำ  และสามารถสร้างข้อมูลส่วนบุคคล  มีสินค้าให้เลือกมากมาย และราคาสินค้าต่ำ   ใช้เทคโนโลยี 1 คลิก    (E-wallet)ในการสั่งซื้อสินค้า มีระบบความปลอดภัยในการชำระเงิน  มีระบบรับคำสั่งซื้อที่สมบูรณ์   เว็บได้เตรียมบริการอื่น ๆ ให้ลูกค้าใช้งานสนุกมากขึ้น  ด้วยบริการGift Ideas เพื่อเป็นการสร้างเครือข่ายชุมชนของกลุ่มลูกค้าด้วยการให้เสนอความคิดเห็นร่วมกับลูกค้าท่านอื่น  ตลอดจนการให้บริการฟรีการ์ดอิเล็กทรอนิกส์ ไปให้ลูกค้าสามารถส่งให้เพื่อนหรือครอบครัวเพื่อความประทับใจมากยิ่งขึ้น

การดำเนินการลูกค้าสัมพันธ์ เว็บไซต์ใช้วิธีจดจำลูกค้าอย่างใกล้ชิด เพื่อสร้างความสัมพันธ์ (CRM)  กับลูกค้า  โดยการสร้างและสนับสนุนข่าวสารที่มีประสิทธิภาพ ให้กับลูกค้าอย่างอัตโนมัติ  โดยมีระบบหน้าร้านและหลังร้านทำงานอัตโนมัติอย่างมีประสิทธิภาพ  เช่น ลูกค้าสามารถติดตามสถานะการส่งสินค้า  รวมถึงจัดกลุ่มหนังสือขายดี  สินค้าขายดี  เพื่อนำเสนอลูกค้า
เมื่อลูกค้ากลับมาเยี่ยมชมเว็บไซต์  Amazon ใช้โปรแกรมคุกกี้เป็นตัวจดจำ และนำเสนอสินค้าให้ลูกค้าอย่างอัตโนมัติพร้อมกับจดจำลูกค้าแต่ละรายได้  เช่น ข้อความทักทาย "Welcome back Tony" นอกจากนี้ยังแนะนำสินค้าใหม่โดยวิเคราะห์จากข้อมูลการซื้อสินค้าเก่าของลูกค้า  เมื่อลูกค้าค้นหาข้อมูลโปรแกรมสามารถค้นฐานข้อมูลเพื่อเตรียมให้ลูกค้าตัดสินใจ   ผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์สามารถลงทะเบียนออนไลน์  และสร้างข้อมูลส่วนตัว รวมทั้งระบุสิ่งสิ่งที่ชอบในแบบสอบถาม  และการสร้างข้อมูลส่วนบุคคลเช่น ที่อยู่ เพื่อความสะดวกในการสั่งซื้อแบบ 1 Click   นอกจากนี้เรายังมีตัวอย่างที่เว็บได้เตรียมให้ลูกค้ารายละเอียดดังนี้ 
-สามารถเช็คสถานะการสั่งซื้อ
-สามารถยกเลิก หรือรวมคำสั่งซื้อเพิ่มเติมกับสินค้าที่ยังไม่ได้จัดส่ง
-สามารถเช็คสถานะการสั่งซื้อ  -สามารถยกเลิก หรือรวมคำสั่งซื้อเพิ่มเติมกับสินค้าที่ยังไม่ได้จัดส่ง -สามารถแก้ไขเงื่อนไข หรือที่อยู่การขนส่ง  -สามารถเปลี่ยนแปลงวิธีการชำระเงินสินค้าที่ยังไม่ได้จัดส่ง  -แจ้งเตือนให้ลูกค้าปรับปรุงข้อมูลส่วนตัว
Amazon ติดตามประวัติการสั่งซื้อ และคำแนะนำการซื้อขายผ่านอีเมลล์เพื่อก่อให้เกิดการซื้อซ้ำ  รวมถึงการเตรียมรายละเอียดสินค้า ราคา เพื่อช่วยเหลือให้ลูกค้าตัดสินใจได้ง่ายขึ้น  สิ่งเหล่านี้ส่งผลให้ลูกค้าพึงพอใจ และสร้างโอกาสในการซื้อซ้ำ  ซึ่งบ่อยครั้งการซื้อซ้ำที่ Amazon เปอร์เซนต์สูงจากความจงรักภักดีจากลูกค้าเดิม
ประสิทธิภาพทางการเงิน
ในปลายปี 2000  นาย Jeff Bezos   (CEO) ผู้บริหารประกาศว่า Amazon เป็นธุรกิจเก่าแก่ที่สุด  เป็นร้านค้าในอเมริกาที่ขายหนังสือ เพลง และวีดีโอ  ที่ก่อให้เกิดกำไร  ทั้งหมดขาดทุนต่อเนื่องมาตลอด   ในปลายปี 2000  เว็บไซต์downside.com/deathwatch.html ทำนายว่า สถานะการเงินของ Amazon จะยังไม่มีกำไรจนถึง  ก.ค. ปี 2001  ซึ่งก็ต้องต้องเฝ้าดูต่อไป

     การจัดการหลักของ  Amazon เกี่ยวกับความสามารถย้ายเข้ามาเป็นธุรกิจใหม่  ในขณะเดียวกันต้องควบคุมต้นทุน เพื่อให้ได้มาซึ่งกำไร นักสังเกตุเห็นด้วยที่ Amazon ยังคงความโดดเด่นเน้นการบริการลูกค้า และมียอดขายจากความจงรักภักดีจากลูกค้าสูง   ซึ่งการแข่งขันในปัจจุบันตีความได้ว่าความจงรักภักดีของลูกค้า  และการวางตำแหน่งทางด้านการตลาดถือเป็นคุณค่าที่ใช้ได้จริงมายาวนาน  สิ่งหนึ่งที่วิเคราะห์ได้คือ 2 ปีโดยเฉลี่ย เว็บได้รับกำไรจากความจงรักภักดีของลูกค้าเป็นหลัก  เว็บ Amazon สามารถทำกำไรและไม่ใช้ทรัพยากรได้อย่างไร  อะไรเป็นปัจจัยของความสำเร็จในการเข้าครอบครองส่วนแบ่งการตลาด เพื่อขยายการทำกำไร
Amazon จัดอยู่ใน  Internet Business Models :  จัดอยู่ในกลุ่ม Virtual Storefront คือจัดตั้งขึ้นมาเพื่อเพิ่มช่องทางการประชาสัมพันธ์ และจัดการการขายให้ลูกค้าที่เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ได้โดยตรง มักจะเป็นธุรกิจที่ไม่มีหน้าร้านขาย  ซึ่งเป็นช่องทางในการสร้างรายได้ให้กับธุรกิจ ซึ่งสร้างความสะดวกให้แก่ผู้ใช้บริการ 


การประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศกับธุรกิจในรูปแบบของ 
E-Business 


เมื่อลูกค้ากลับมาเยี่ยมชมเว็บไซต์  Amazon ใช้โปรแกรมคุกกี้เป็นตัวจดจำ และนำเสนอสินค้าให้ลูกค้าอย่างอัตโนมัติพร้อมกับจดจำลูกค้าแต่ละรายได้  เช่น ข้อความทักทาย "Welcome back Tony" นอกจากนี้ยังแนะนำสินค้าใหม่โดยวิเคราะห์จากข้อมูลการซื้อสินค้าเก่าของลูกค้า  เมื่อลูกค้าค้นหาข้อมูลโปรแกรมสามารถค้นฐานข้อมูลเพื่อเตรียมให้ลูกค้าตัดสินใจ   ผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์สามารถลงทะเบียนออนไลน์  และสร้างข้อมูลส่วนตัว รวมทั้งระบุสิ่งสิ่งที่ชอบในแบบสอบถาม  และการสร้างข้อมูลส่วนบุคคลเช่น ที่อยู่ เพื่อความสะดวกในการสั่งซื้อแบบ 1 Click   นอกจากนี้เรายังมีตัวอย่างที่เว็บได้เตรียมให้ลูกค้ารายละเอียดดังนี้ 

-สามารถเช็คสถานะการสั่งซื้อ
-สามารถยกเลิก หรือรวมคำสั่งซื้อเพิ่มเติมกับสินค้าที่ยังไม่ได้จัดส่ง
 
     -สามารถเช็คสถานะการสั่งซื้อ   
-สามารถยกเลิก หรือรวมคำสั่งซื้อเพิ่มเติมกับสินค้าที่ยังไม่ได้จัดส่ง  
-สามารถแก้ไขเงื่อนไข หรือที่อยู่การขนส่ง   
     -สามารถเปลี่ยนแปลงวิธีการชำระเงินสินค้าที่ยังไม่ได้จัดส่ง   
     -แจ้งเตือนให้ลูกค้าปรับปรุงข้อมูลส่วนตัว


วันเสาร์ที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2555

สาเหตุใดที่ทำให้ธุรกิจ Ecommerce ในประเทศไทย ไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร


1. สาเหตุใดที่ทำให้ธุรกิจ Ecommerce ในประเทศไทย ไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร

              าร ทำอีคอมเมิร์ชนั้น คงไม่ใช่แค่เพียงการสร้างเว็บไซต์ขึ้นมา แล้วใครต่อใครก็ต่ออินเทอร์เน็ตเข้าไปดูกันได้เท่านั้น เพราะหากว่าไปแล้ว เว็บไซต์ก็เหมือน "ภาพพจน์" หนึ่งของบริษัท หากท่านอยากทำเว็บไซต์ให้ประสบความสำเร็จ ควรคำนึงถึงอุปสรรคเหล่านี้ที่จะเป็นตัวแปรสำคัญวัดชะตาว่าเว็บของท่านจะ รุ่งหรือร่วง1. การนำเสนอข้อมูลบนเว็บไซต์ หลายเว็บไซต์ยังขาดทักษะเรื่องของภาษา การนำเสนอขายสินค้าบางครั้งแค่ใส่ขนาดกับราคาเพียงเท่านั้น ขาดรายละเอียดทั้งในเรื่องของวัสดุ การใช้งาน และข้อมูลต่างๆที่ ลูกค้าต้องการเพิ่ม ที่สำคัญ นโยบายรับคืนสินค้า หลายเว็บไซต์มักเกรงปัญหาของคืน จึงไม่ได้ใส่เงื่อนไขสำคัญนี้ในเว็บของตน หรือบางเว็บไซต์ก็ใส่ข้อมูลที่เยอะมากเกินไป กว่าลูกค้าจะคลิกเข้าไปซื้อของได้ก็เสียเวลาเปิดเข้าไปในแต่ละหน้านานมาก2.ขาดบุคคลากรที่มีความรู้การนำเสนอข้อมูลที่ขาดรายละเอียดนั้น  บางครั้งมีลูกค้าอีเมล์มาสอบถามเพิ่มเติม แต่บางเว็บไซต์ไม่ได้ตั้งบุคคลากรเพื่อดูแลปัญหานี้ หรือขาดความรู้ในการเข้าถึงเทคโนโลยีมีผู้ประกอบการหลายราย เปิดเว็บไซต์แล้ว ไม่ได้ตรวจอีเมล์ หรือตอบช้าเกินไป3. ขาดการวางแผนตลาดรองรับ การมีเว็บไซต์เป็นเสมือนการเปิดร้านแห่งหนึ่งขึ้นบนโลกไซเบอร์ ซึ่งวันหนึ่งๆ มีเว็บเกิดขึ้นเป็นหมื่น หากไม่มีการวางแผนประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเป้าหมายรู้จัก ก็ยากที่จะประสบความสำเร็จ หลายเว็บเกิดขึ้นมาแบบขาดการวางแผน เห็นธุรกิจอื่นมีเว็บกัน ก็แค่อยากมีกับเขาบ้าง4. ขาดการส่งเสริมอย่างจริงจัง มีหลายเว็บที่เปิดขึ้นมาแล้ว ขาดการดูแล ผู้ซื้อเข้ามากี่เดือนก็พบรูปแบบเหมือนเดิม ซ้ำโปรโมชั่นเก่าที่เอามาลดราคาก็หมดเขตไปตั้งแต่ปีที่แล้ว ทำให้เว็บขาดความเชื่อถือดังนั้น เมื่อเปิดเว็บแล้ว ต้องติดตาม ตรวจสอบสถิติ และพัฒนาเว็บไซต์ของตนให้ทันสมัยอยู่เสมอ5. หลงเทคโนโลยี การสร้างเว็บไซต์ บางครั้งผู้ประกอบการมักหลงใหลกับความงามของกราฟฟิก ใส่ภาพเคลื่อนไหว เสียงประกอบต่างๆ เข้าไป เพื่อหวังจะเรียกร้องความสนใจของผู้เข้าชม โดยลืมไปว่าสิ่งเหล่านี้ต้องทำให้ผู้ซื้อสินค้าเสียเวลาโหลดนานมากกว่าที่จะ ได้ดูสินค้าแต่ละหน้า6. ไม่กำหนดตลาด การที่อินเทอร์เน็ตสามารถเข้าถึงคนได้ทั่วโลก ทำให้ผู้ค้าบางรายหวังขายสินค้าไปทั่วโลก ทั้งที่ในโลกการค้า ลักษณะการใช้ภาษาก็ดี, รูปแบบ, ราคาของสินค้าก็ดี ล้วนมีความแตกต่างกันออกไป ดังนั้น เมื่อได้ข้อมูลความต้องการของลูกค้าที่ชัดเจนแล้ว ควรมุ่งเน้นไปยังตลาดกลุ่มเป้าหมาย ดีกว่าการทำตลาดแบบเหวี่ยงแห ซึ่งนอกจากเสียเวลาแล้ว ยังอาจเสียลูกค้าโดยไม่รู้ตัว เช่น หากจะขายเครื่องประดับราคาสูงแล้ว ก็ต้องไม่มีการขายตุ้มหู คู่ละ เหรียญอยู่ในเว็บ เป็นต้น7. การออกแบบ การออกแบบเว็บไซต์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ควรออกแบบให้ผู้ใช้ เข้าใจได้ง่าย โดยไม่ต้องมีคู่มือประกอบ สามารถค้นหาสินค้าได้สะดวก และชำระเงินได้โดยง่าย บางเว็บไซต์ ผู้ซื้อต้องกรอกข้อมูลมากเกินความจำเป็น ทำให้เกิดความเบื่อหน่าย และรู้สึกว่าใช้งานลำบาก1. การนำเสนอข้อมูลบนเว็บไซต์ หลายเว็บไซต์ยังขาดทักษะเรื่องของภาษา การนำเสนอขายสินค้าบางครั้งแค่ใส่ขนาดกับราคาเพียงเท่านั้น ขาดรายละเอียดทั้งในเรื่องของวัสดุ การใช้งาน และข้อมูลต่างๆที่ ลูกค้าต้องการเพิ่ม ที่สำคัญ นโยบายรับคืนสินค้า หลายเว็บไซต์มักเกรงปัญหาของคืน จึงไม่ได้ใส่เงื่อนไขสำคัญนี้ในเว็บของตน หรือบางเว็บไซต์ก็ใส่ข้อมูลที่เยอะมากเกินไป กว่าลูกค้าจะคลิกเข้าไปซื้อของได้ก็เสียเวลาเปิดเข้าไปในแต่ละหน้านาstock-photo-modern-business-world-a-businessman-looking-at-rotating-business-images-58382266.jpgนมาก
2.ขาดบุคคลากรที่มีความรู้การนำเสนอข้อมูลที่ขาดรายละเอียดนั้น  บางครั้งมีลูกค้าอีเมล์มาสอบถามเพิ่มเติม แต่บางเว็บไซต์ไม่ได้ตั้งบุคคลากรเพื่อดูแลปัญหานี้ หรือขาดความรู้ในการเข้าถึงเทคโนโลยีมีผู้ประกอบการหลายราย เปิดเว็บไซต์แล้ว ไม่ได้ตรวจอีเมล์ หรือตอบช้าเกินไป3. ขาดการวางแผนตลาดรองรับ การมีเว็บไซต์เป็นเสมือนการเปิดร้านแห่งหนึ่งขึ้นบนโลกไซเบอร์ ซึ่งวันหนึ่งๆ มีเว็บเกิดขึ้นเป็นหมื่น หากไม่มีการวางแผนประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเป้าหมายรู้จัก ก็ยากที่จะประสบความสำเร็จ หลายเว็บเกิดขึ้นมาแบบขาดการวางแผน เห็นธุรกิจอื่นมีเว็บกัน ก็แค่อยากมีกับเขาบ้าง4. ขาดการส่งเสริมอย่างจริงจัง มีหลายเว็บที่เปิดขึ้นมาแล้ว ขาดการดูแล ผู้ซื้อเข้ามากี่เดือนก็พบรูปแบบเหมือนเดิม ซ้ำโปรโมชั่นเก่าที่เอามาลดราคาก็หมดเขตไปตั้งแต่ปีที่แล้ว ทำให้เว็บขาดความเชื่อถือดังนั้น เมื่อเปิดเว็บแล้ว ต้องติดตาม ตรวจสอบสถิติ และพัฒนาเว็บไซต์ของตนให้ทันสมัยอยู่เสมอ5. หลงเทคโนโลยี การสร้างเว็บไซต์ บางครั้งผู้ประกอบการมักหลงใหลกับความงามของกราฟฟิก ใส่ภาพเคลื่อนไหว เสียงประกอบต่างๆ เข้าไป เพื่อหวังจะเรียกร้องความสนใจของผู้เข้าชม โดยลืมไปว่าสิ่งเหล่านี้ต้องทำให้ผู้ซื้อสินค้าเสียเวลาโหลดนานมากกว่าที่จะ ได้ดูสินค้าแต่ละหน้า6. ไม่กำหนดตลาด การที่อินเทอร์เน็ตสามารถเข้าถึงคนได้ทั่วโลก ทำให้ผู้ค้าบางรายหวังขายสินค้าไปทั่วโลก ทั้งที่ในโลกการค้า ลักษณะการใช้ภาษาก็ดี, รูปแบบ, ราคาของสินค้าก็ดี ล้วนมีความแตกต่างกันออกไป ดังนั้น เมื่อได้ข้อมูลความต้องการของลูกค้าที่ชัดเจนแล้ว ควรมุ่งเน้นไปยังตลาดกลุ่มเป้าหมาย ดีกว่าการทำตลาดแบบเหวี่ยงแห ซึ่งนอกจากเสียเวลาแล้ว ยังอาจเสียลูกค้าโดยไม่รู้ตัว เช่น หากจะขายเครื่องประดับราคาสูงแล้ว ก็ต้องไม่มีการขายตุ้มหู คู่ละ เหรียญอยู่ในเว็บ เป็นต้น7. การออกแบบ การออกแบบเว็บไซต์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ควรออกแบบให้ผู้ใช้ เข้าใจได้ง่าย โดยไม่ต้องมีคู่มือประกอบ สามารถค้นหาสินค้าได้สะดวก และชำระเงินได้โดยง่าย บางเว็บไซต์ ผู้ซื้อต้องกรอกข้อมูลมากเกินความจำเป็น ทำให้เกิดความเบื่อหน่าย และรู้สึกว่าใช้งานลำบาก





2. ถ้าอยากจะให้ระบบการขายสินค้าในรูปแบบ E-commerce ในประเทศไทยประสบความสำเร็จ นักศึกษาคิดว่าควรจะต้องประกอบด้วยปัจจัยใดบ้าง

             ในการที่จะทำให้ระบบการขายสินค้าใน รูปแบบ E-commerce ในประเทศไทยนั้นประสบความสำเร็จได้ นั้นต้องมีการนำเอาปัจจัยหลายอย่าง เกี่ยวข้องที่เป็นตัวกำหนด ไม่ว่าจะเป็นในด้านการตลาด  ความทั่วถึงทางด้านเทคโนโลยี ความรู้ความสามารถ รวมไปถึงทัศนคติค่านิยมของคนไทย ซึ่งสามารถแยกปัจจัยต่างๆ ที่เป็นส่วนประกอบได้ดังนี้ 
             1. การมองหาช่องทางตลาดของ E-commerce เป็น การเล็งเห็นถึงช่องทางทางการตลาดและรีบตัดสินใจนำมาดำเนินการเพื่อสร้างจุด ได้เปรียบทางการแข่งขันบนระบบ E-commerce ตลอดจนสร้างความน่าสนใจให้กับผู้บริโภคให้หันมาสนใจในมุมมองใหม่นั้นโดยคิด อย่างรอบคอบและมองให้เห็นถึงอนาคต การคาดการณ์ที่อาศัยปัจจัยแปรต่างๆ ที่มีผลต่อระบบ
            2. การสร้างมุมมองที่อุดช่องโหว่ของความไม่เชื่อมั่นและความกลัวของคนไทย ใน การใช้บริการ E-commerce ซึ่งผู้ดำเนินต้องมีแนวทางในการสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ผู้บริโภคในการใช้ บริการ E-commerce ให้เชื่อในความปลอดภัย เห็นถึงข้อดีต่างๆ ที่ได้จากการใช้งาน สร้างตัวจูงใจในการใช้บริการ ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือ การที่ได้สินค้าในราคาที่ถูกกว่าและมีคุณภาพ อันเนื่องมาจากการติดต่อโดยตรงไม่ผ่านคนกลางใดๆ
            3. การมองหาถึงช่องทางที่อำนวยความสะดวกและปลอดภัยให้แก่ลูกค้ามากที่สุดซึ่งเป็นการกล่าวในด้านการทำธุรกรรมต่างๆ ซึ่งการที่จะทำให้ลูกค้าส่วนใหญ่เชื่อถือนั้นต้องอาศัยการออกแบบที่รัดกุม น่าเชื่อถือ และที่สำคัญต้องอำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้บริการให้มากที่สุด ตลอดจนการมองหาช่องทางหรือการเปิดช่องทางที่หลากหลายให้ผู้บริโภคได้เลือก ชำระเงินได้อย่างสะดวกมากที่สุด มีตัวเลือกให้หลายเส้นทางที่สุด และคำนึงถึงความปลอดภัยร่วมด้วย
            4. การบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพทั้งด้านการลงทุนและข้อมูลเนื้อหาที่เสนอตลอด จนการติดต่อผสานงานกับส่วนต่างๆ ที่ใช้ในการดำเนินงาน เช่นด้านการขนส่ง ด้านการชำระเงิน ด้านการให้บริการแก่ลูกค้า อีกทั้งส่วนสำคัญคือการสร้างข้อมูลที่เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ อันเป็นการสร้างฐานความเชื่อมั่นทางการตลาดเป็นสำคัญนั่นเอง
           5. การสร้างพันธมิตรทางธุรกิจที่มีส่วนช่วยระหว่างกัน ซึ่งการที่เราจะดำเนินธุรกิจE-commerce เพียงผู้เดียวคงจะเป็นการสำเร็จตามเป้าหมายที่ยาก การมีพันธมิตรทางการค้านับเป็นส่วนสำคัญเป็นอย่างยิ่งในการสร้างตลาดให้เป็น ที่รู้จักแก่ผู้บริโภค ตลอดจนการสร้างโครงข่ายความช่วยเหลือระหว่างกันเป็นสำคัญ อาทิการแลกแบรนเนอร์ การฝากลิงค์ การแบ่งปันพื้นที่หน้าเว็บไซต์ระหว่างกัน ซึ่งเป็นหลักการสร้างเส้นทางในการเข้าถึงระหว่างกันนอกจากนั้นยังเป็นส่วน ช่วยในการส่งเสริมทางการตลาดเป็นอย่างดี ทำให้ผู้บริโภคมองหาสินค้าอื่นอีก นอกจากการมองจากแหล่งๆ เดียว ทำให้เว็บไซต์ของเราเป็นศูนย์กลางที่ผู้บริโภคเลือกเข้ามาใช้บริการ อันมีผลพลอยได้หลายประการ นอกจากการขายสินค้าเท่านั้น
      ซึ่งโดยสรุปแล้วการที่จะขายสินค้าในรูปแบบ E-commerce ในประเทศไทยประสบความสำเร็จนั้นจะต้องประกอบด้วยปัจจัยหลักคือการมองเห็น ช่องทางทางการตลาดเป็นสำคัญ การมองหาถึงความต้องการและไม่ต้องการของผู้บริโภค ตลอดจนการสร้างพันธมิตรความร่วมมือในการดำเนินธุรกิจ E-commerce เป็นส่วนช่วยระหว่างกันอันเป็นส่วนสำคัญยิ่งที่จะทำให้การดำเนิน E-commerce ของไทยประสบความสำเร็จอย่างก้าวหน้าและมั่นคงตลอดไป

"SO LO MO" Social Media Location Mobile & ZMOT

So Lo Mo
            




  หรือเรียกชื่อเต็มว่า Social Media Location Mobile จากความคิดในทัศนคติของผม เป็นการประยุกต์ใช้ระบบการเชื่อมต่อสื่อสารไร้สายเคลื่อนที่มาใช้ในการสนทนาแบ่งปัน ความคิดเห็นข้อมูล เรื่องสินค้าและบริการผ่านทางระบบสังคมออนไลน์ต่างๆ เพื่อแลกเปลี่ยนแบ่งปันประสบการระหว่างกันในการเลือกสินค้าและบริการ โดยผ่านทางระบบการสื่อสารเคลื่อนที่ ซึ่งหลักๆก็คือ สมาร์ทโฟน ซึ่งผู้บริโภคจะสนทนาแบ่งปัน ข้อมูลประสบการณ์ระหว่างกัน ไม่ว่าจะเป็นสินค้าหรือบริการ สถานที่ตั้ง ตลอดจนข้อคิดเห็นและข้อเปรียบเทียบต่างๆ โดยส่วนใหญ่แล้ว พวกเขานำเสนอข้อมูลแบบอัฟเดททันทีในประสบการณ์ความรู้สึกที่มีต่อสินค้า แบรนด์สินค้า หรือบริการนั้นๆ ผ่านทางการสนทนาข้อความบนโลกสังคมออนไลน์ 

ZMOT

                      ZMOT หรือ Zero Moment of Truth คือ การที่ลูกค้าได้รู้จักและมีความสนใจในสินค้าก่อนที่จะเช้าไปดูสินค้าในร้านค้าจริงๆ ซึ่งลูกค้าอาจรู้ได้จากการเข้าชมเว็บไซต์ และ Social Media ต่างๆ หรือแม้กระทั่งการสแกน Barcode จากโทรศัพท์แล้วเปิดอ่าน ซึ่งสิ่งสำคัญที่ทำให้เกิด ZMOT คือ การเติบโตของอินเทอร์เน็ตและเครื่องมือที่ใช้เชื่อมต่ออย่างสมาร์ทโฟน ที่มีการพัฒนาให้มีความสามารถมากขึ้น ตลอดจนการเจริญเติบโตของเทคโนโลยีการสื่อสารที่รวดเร็วมากขึ้น ที่ทำให้ลูกค้าสามารถเข้าชมสินค้า รู้สถานที่ตั้ง แหล่งจำหน่าย ตลอดจนสามารถสั่งซื้อผ่านทางเทคโนโลยีโทรคมนาคมสมัยใหม่นี้ 

บรรยายเรื่อง "การทำธุรกิจและการตลาดในยุคดิจิทัล 3.0" แล้วปฏิบัติดังนี้


บรรยายเรื่อง "การทำธุรกิจและการตลาดในยุคดิจิทัล 3.0" แล้วปฏิบัติดังนี้



 Social โลกแห่งการคบหาสมาคม ติดต่อสื่อสาร แลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น Social media นั้นมีส่วนสร้างแบรนสินค้าใหม่เป็นอย่างยิ่ง 
ซึ่งปัจจุบัน media ที่จะนำมาใช้สร้างสินค้าใหม่นั้นมีด้วยกัน 4 ประเภท 
Social โลกแห่งการคบหาสมาคม ติดต่อสื่อสาร แลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น Social media นั้นมีส่วนสร้างแบรนสินค้าใหม่เป็นอย่างยิ่ง ซึ่งปัจจุบัน media ที่จะนำมาใช้สร้างสินค้าใหม่นั้นมีด้วยกัน 4 ประเภท

            1. OWNED media เป็น สื่อที่ผู้ประกอบการเองเป็นเจ้าของ 

            2. PAID Media เป็นสื่อที่เราต้องมีค่าใช้จ่ายในการซื้อ เช่น แบรนด์เนอ สปอนเซอร์ ชิฟ 

            3. EARNED Media เป็นสื่อที่ลูกค้า ผู้บริโภคทั่วไปเป็นเจ้าของ เช่น เฟชบุ๊ค ทวิชเตอร์ เป็นการแบ่งปันข้อมูลพูดคุยระหว่างกัน 

            4. Social media เป็นการสร้างสังคมเข้าหาลูกค้า ให้ลูกค้าได้มาพูดคุยกับเรา เพื่อหาข้อมูลความคิดเห็น


           Social media ถูกสร้างขึ้นมาจาการพูดหรือการสื่อสารปากต่อปาก โดยปัจจุบันทำได้ได้อย่างรวดเร็วโดยผ่านทางโลกสังคมออนไลน์ต่างๆ ได้อย่างทันที ผู้บริโภคปัจจุบันเปลี่ยนแปลงไปโดยการที่จะสร้างแบรนสินค้าขึ้นมาใหม่จำเป็นที่จะต้องรู้ถึงปัจจัยต่างๆ ดังนี้

1.คิดว่าทุกคนเป็นอิสระต่อกัน
2.ผู้บริโภคนั้นประเภท มีบทบาทในการเสนอแนะสินค้าเหล่านั้น ผ่านเครือข่ายในฐานะ Publisher
3.การสนทนาโต้ตอบกันในเครือข่าย  ระหว่างผู้บริโภคและผู้ประกอบการ
4.มีความโปร่งใส จริงใจ ให้กันในยุคสมัยที่มีการเข้าถึงกันง่าย การนำข้อมูลของผู้อื่นไปใช้ ทั้งภาพ เสียง สมควรที่จะมีการอ้างถึง หรือทำ Credit
5.การสร้างความร่วมมือกับผู้บริโภค ในการทำงานด้านต่างๆ
6.การหาข้อมูลต่างๆผ่านเทคโนโลยี ด้วยผ่านผู้บริโภคที่เคยใช้มาก่อนแล้ว
ทั้งหมดนี้สรุปได้ว่า ผู้บริโภคนั้นมีบทบาทกับ Social Media เป็นอย่างมาก  เพราะผู้บริโภคนั้นเป็นองค์ประกอบที่สำคัญของธุกิจ
การสร้างแบรนด์
1.ควรสร้างมาแล้วต้องให้ผู้บริโภคมีความรู้จัก
2.เริ่มให้ผู้บริโภคมีส่วนร่วมกับผู้ประกอบการ
3.ให้ผู้บริโภคมาลองใช้ให้ได้ 
4.เมื่อใช้แล้วต้องมีความชอบในสินค้า
5.แล้วมีการบอกต่อกันไปเรื่อยๆ
สรุปแล้ว คือ ต้องมีการติดต่อกับลูกค้า,มีการให้ข้อมูลลูกค้า,มีการเอ็นเตอร์เท็นลูกค้า,และมีการแบ่งปันกันไปเรื่อยๆ
การเปลี่ยนแปลงของการตลาด
1.การแลกเปลี่ยน ซื้อมาขายไป แบบมีสถานที่ จับต้องสินค้าได้
2.เป็นการให้ความสำคัญกับความสัมพันธ์การลูกค้าในระยะยาว
3.คือการร่วมกันทำการตลาด โดยลูกค้ามีส่วนร่วมในการทำงานต่างๆ

คำศัพท์ 
    1.Social network คือสังคมแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารผ่านทางระบบเครือข่าย
    2.Owned media คือเป็นสื่อเว็บไซต์ที่เราเป็นเจ้าของเอง
    3.Paid media คือสื่อที่เราต้องจ่ายเงินซื้อประเภท Branner, Sponser ship
    4.Earned Media คือลูกค้าเป็นเจ้าของ โดยมีการพูดถึงธุรกิจกับลูกค้าด้วยกัน
    5.Social Media คือเจ้าของธุรกิจเป็นผู้ติดต่อกับลูกค้าโดยตรง
    6 .Content curater คือ การเขียน รวบรวม และแบ่งปันบทความของบริษัทสู่ลูกค้าทางช่องทางการสื่อสาร จะช่วยให้ลูกค้ารู้สึกว่าคุณมีความรู้, ชอบแบ่งปัน และยังช่วยให้ลูกค้าได้รับข้อมูลที่ทันต่อเหตุการณ์อยู่เสมอ
    7. Change of marketing คือ การเปลี่ยนแปลงของการตลาด
    8. Callaboration rules คือ เป็นการสร้างแบรนด์ที่ต้องอาศัย ความร่วมมือของผู้บริโภคทำการตลาด
    9. Relatioship Marketing คือการให้ความสำคัญกับความสัมพันธ์ของผู้บริโภค
   10. Commitment คือ การตอบกลับหลังจากการได้ทดลองให้ตัวสินค้าแล้ว
   11. Change of costomer คือการเปลี่ยนแปลงของผู้บริโภค
   12. strategy development เป็นการวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมทั้งภายนอกและภายในองค์กรด้วยเครื่องต่างๆที่ เหมาะสม เพื่อให้ได้ข้อมูลสำหรับการกำหนดทิศทางและยุทธศาสตร์
   13. Co-Creation เป็นแนวคิดในการพัฒนาสินค้าและบริการในรูปแบบใหม่ที่เปิดโอกาสให้ลูกค้าหรือ ผู้ที่จะเป็นผู้ใช้สินค้าและบริการดังกล่าวเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนา จริงๆ
   14. Service Marketing การตลาดบริการกิจกรรมหรือผลประโยชน์ที่บุคคลหนึ่งเสนอแก่อีกบุคคลหนึ่งซึ่ง มีลักษณะคือไม่สามารถมองเห็นหรือจับต้องได้ และไม่มีผลในการเป็นเจ้าของโดยอาจจะมีตัวสินค้าเข้ามาเกี่ยวข้อง ด้วยหรือไม่ก็ได้
   15. Knowledge Sharing การแลกเปลี่ยนเรียนรู้การที่กลุ่มคนที่มีความสนใจในเรื่องใดเรื่องหนึ่งร่วม กัน มารวมตัวกันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้วยความสมัครใจ เพื่อร่วมสร้างความเข้าใจหรือพัฒนาแนวปฏิบัติในเรื่องนั้นๆ
   16. CRM ย่อมาจาก Customer RelationshipManagement คือ การบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้าซึ่งหมายถึงวิธีการที่เราจะบริหารให้ลูกค้า มีความรู้สึกผูกพันธ์กับสินค้า , บริการ หรือองค์กรของเรา เมื่อลูกค้าเค้ามีความผูกพันธ์ในทางที่ดีกับเราแล้วก็ลูกค้านั้นไม่คิดที่จะ เปลี่ยนใจไปจากสินค้าหรือบริการของเราทำให้เรามีฐานลูกค้าที่มั่้นคง และนำมาซึ่งความมั่นคงของบริษัท ดังนั้นการที่จะรู้ซึ้งถึงสถานะความผูกพันธ์กับลูกค้าได้นั้นเราก็ต้องอาศัย การสังเกตุพฤติกรรมของลูกค้าแล้วนำมาวิเคราะห์หาความเกี่ยวข้องระหว่าง พฤติกรรมของลูกค้ากับกลยุทธ์ทางการตลาดของเรา
    17. mindset กระบวนการทางความคิด การปรับทัศนคติการปรับความชอบหรือนิสัยหรือการจัดลำดับความคิดของตัวเอง
    18. TransactionMarketing คือเปรียบได้กับการซื้อมา ขายไปการแลกเปลี่ยนแบบมีสถานที่ หรือตลาดคงที่ สามารถจับต้องได้
   19. Reration ship คือ การสร้างความสัมพันธ์ 
   20. Credit คือการนำข้อมูลของผู้อื่นไปใช้ ทั้งภาพรูป เสียง สมควรที่จะมีการอ้างถึง

การบรรยายเรื่อง "Online Business with Google"

การบรรยายเรื่อง "Online Business with Google"


          การประยุกต์ระบบออนไลน์มาใช้กับภาคธุรกิจเพื่อเปิดช่องทางการติดต่อซื้อขายสินค้า ด้วยการนำZMOT มาใช้เป็นส่วนเสริมในกระบวนการซื้อขายสินค้า ให้เข้าถึงกลุ่มลูกค้าเพื่อดูดความสนใจ ซึ่งผู้บริโภคส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการค้นหาข้อมูลสินค้าเอง ซึ่งโดยส่วนใหญ่จะใช้ Google เป็นผู้ช่วยในการค้นหา ผู้ดำเนินธุรกิจต้องประยุกต์มาใช้ดิจิตอล 3.0 ที่สามารถค้นเจอบนหน้าของการค้นหาของ Google ได้ โดยที่เครื่องมือที่เข้ามาช่วยเหลือในการทำการตลาดออนไลน์จาก Google ดังนี้
         1.Get your business online การมีตัวตนบนโลกออนไลน์ คือการค้นจาก Google แล้วเจอ มีผลของการค้นหาที่เป็นหน้าเว็บไซต์ของเรา
         2.Be found –when customer is reading คือการถูกค้นหา การถูกค้นหา มี 2 ส่วน ที่ทำให้เราตัดสินใจได้ว่ามีตัวตน และผู้บริโภคจะพบเรา คือ Google adwords และ natural result(ผลเสิร์ซโดยปกติ)
         3.Be reached Show where you are คือ การปรากฏตัวบนแผนที่ ซึ่งแผนที่นี้ถือเป็นเรื่องสำคัญมาก เพราะเดี๋ยวนี้ผู้บริโภคจะค้นหาสถานที่ต่างๆ จากแผนที่ออนไลน์  แผนที่ออนไลน์เดี๋ยวนี้มี Google map street view ทำให้ลูกค้าสามารถเห็นสถานที่เสมือนจริงได้เลย
        4.Get closer to your customer ต้องอาศัย Social media ซึ่งอาจจะเป็น Google + ของ Google ก็ได้ ซึ่งตอนนี้ Google+ มีฟีเจอร์เพิ่มขึ้นมาที่น่าสนใจคือ Google+ Hangouts ที่จะทำให้ผู้ประกอบการและผู้บริโภคสนทนากันแบบวีดีโอ สามารถดึงไฟล์เอกสารพร้อมกันได้ ดูคลิปพร้อมกันได้
        5.Increase your performance การวัดผลการทำการตลาด โดย Google ที่ชื่อว่า analytics.google.com ว่ามีผู้ใช้เว็บไซต์ของคุณอย่างไร เป็นต้น
        6.Engage your customers : anywhere-anytime คือการค้นหาสินค้าและบริการทุกที่ ทุกเวลา จากสมาร์ทโฟน
        7.Go Global (AEC) การเข้าถึงได้ทั่วโลก ทำให้เราสามารถขายสินค้าได้ทั่วโลก โดยใช้ Google translate ช่วยในการแปลภาษาให้สามารถเข้าใจและสื่อสารกันได้ในระดับหนึ่ง

คำศัพท์

1.  AEC หมายถึง ย่อมาจาก ASEAN  Economic  Community หรือประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน เป็นเป้าหมายสำหรับการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของสมาคมประชาชาติ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือ อาเซียน ซึ่งประกอบด้วยสมาชิก 10 ประเทศ ได้แก่ บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย พม่า ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย และเวียดนาม
2.  so lo mo หมายถึง so ย่อมาจาก Social เป็นสังคมออนไลน์, Lo ย่อมาจากคำว่า Location แปลว่า สถานที่ สถานที่ในที่นี้หมายถึงอะไร หมายถึง Google Map ,Mo ย่อมาจากคำว่า Mobile ในที่นี้ไม่ใช่แค่โทรศัพท์มือถือธรรมดา แต่เป็น SmartPhone
3.  Online   Marketing คือการตลาดทีมีกิจกรรมบนไซเบอร์หรือระบบอินเตอร์เนตทั้งหมดนั่นเองไม่ว่าจะเป็นการซื้อการขาย การโฆษณาหรือการวางแผนการตลาดผ่านทางอินเตอร์เนต ซึงปัจจุบันจะมีความสำคัญมากและสามารถลดค่าใช้จ่ายได้อย่างมากทีเดียSearching คือการค้นหาข้อมูล ซึ่งผลลัพธ์จะต้องบอกได้ว่าค้นหาเจอหรือค้นหาไม่เจอ และในกรณีที่ค้นหาเจอจะต้องบอกได้ว่าค้นหาเจอที่ตำาแหน่งใด
4.  VDO Conference คือ การประชุมกันโดยมองเห็นกันด้วยวิธีการทางเทคโนโลยีการสื่อสาร โดยไม่ต้องมาพบกันจริงๆ โดยการประชุมกันนั้นอาจเป็นรูปแบบ การประชุมกันของกลุ่มบุคคลในสถานที่ต่างๆ โดยใช้อุปกรณ์ด้านการสื่อสารและเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เข้ามาช่วย ทำให้ไม่ต้องเดินทาง ไม่เสียเวลา ไม่เสียค่าใช้จ่ายอื่นๆ หลายอย่าง
5.  Google Hangout ใน Google+ ก็เป็นจุดเด่นของระบบใน Google+ เพราะมันจะช่วยให้เราสามารถประชุมหรือคุยกับเพื่อนพร้อมๆกันได้ถึง 10 ในเวลาเดียวกัน นั้นก็หมายความว่าเราจะประชุมหรือนัดหมายวางแผนงานกันได้


6.    Digital Marketing คือ การตลาดแบบดิจิตอล อาจเป็นสื่อ หรือเว็บไซต์ นำมาประยุกต์ใช้ทางการตลาด
7.    URL หมายถึง Uniform Resource Locator หมายถึง ตัวบ่งบอกข้อมูล หรือ ที่อยู่ (Address) ของไฟล์หรือเว็บไซต์บนอินเตอร์เน็ต
8.    First Moment of Truth คือ เมื่อเข้าไปในสโตร์ แล้วสามารถเห็นสินค้าทันที
9.  Second Moment of Truth คือ การที่เราใช้สินค้า แล้วรู้สึกว่าสินค้านี้ตอบโจทย์ ตอบความคาดหวังต่างๆ
10. Social Networkหมายถึง ที่ให้บริการบนโลกออนไลน์  ปัจจุบัน การสื่อสารแบบนี้ จะทำผ่านทางInternet และโทรศัพท์มือถือเท่านั้น
11. Stimulus หมายถึง สัญญาณหรือการเปลี่ยนแปลงซึ่งมีผลต่อกิจกรรมของสิ่งมีชีวิต
12. Information Age หมายถึง  เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวันของคนเรามากขึ้น โดยเฉพาะด้านธุรกิจ
13. Online Marketing หมายถึง การตลาดที่มีการนำเอาอินเตอร์เน็ตเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้อง เรียกว่า การทำการตลาดแบบออนไลน์
14. Search Engine Marketing (SEM) หมายถึง อินเตอร์เน็ตเป็นแหล่งรวมข้อมูล และความรู้ขนาดใหญ่ที่สุด และกำลังได้รับความนิยมมากในการใช้งานปัจจุบัน และเนื่องจากข้อมูลที่มีอยู่มากมายมหาศาลในอินเตอร์เน็ตนั้น ทำให้บางครั้งผู้ใช้ไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลที่ต้องการได้
15. Ave. Time on Site หมายถึง เวลาเฉลี่ยที่อยู่บนเว็บไซต์ของเรา
16. Bounce Rate หมายถึง เปอร์เซ็นต์ของคนเข้าเว็บ และออกไปเลย ยิ่งเปอร์เซ็นต์สูง ยิ่งไม่ดี
17. Google Analytics หมายถึง ตัวเก็บสถิติเกี่ยวกับผู้เข้าชมเว็บไซต์ พฤติกรรมของคนที่เข้าเยี่ยมชมเว็บไซด์ รวมทั้งติดตามประสิทธิภาพของแคมเปญการโฆษณา
18. Content คือ เนื้อหาภายในเว็บไซต์
19. Pagerank (PR) หมายถึง ค่าที่ทาง Google ให้ความสำคัญกับเว็บไซต์ของเรา ซึ่งมีตั้งแต่ระดับ 1-10 ยิ่งมีค่ามากยิ่งแสดงว่า Google ให้ความสำคัญมาก ค่านี้ขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย เช่น คุณภาพของเว็บ และคุณภาพของ Link ที่เข้ามาหาเว็บ
20. Traffic หมายถึง ปริมาณผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์ของเรา ที่ทำ SEO ก็เพื่อเพิ่มตรงนี้ละ